วันจันทร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2555

การติดตั้งโปรแกรม Adobe Photoshop Cs5

1

มีอะไรใหม่ใน Adobe Photoshop CS5

Adobe Photoshop CS5 เวอร์ชั่นนี้ถือว่าเป็นเวอร์ชั่นที่?12 แล้ว สำหรับผู้คุ้นเคยโปรแกรม Adobe Photoshop คงพอมองออกว่าหน้าตาและความสามารถใหม่่ๆ ของ Adobe Photoshop CS5 นี้มีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีอย่างเห็นได้ชัด??วันนี้เรามาทำตรวจสอบดูกันสักนิดว่า มีอะไรเปลี่ยนแปลงและน่าสนใจบ้าง

ฟีเจอร์ใหม่ของ Photoshop CS5 ที่น่าสนใจ

  1. หน้าตาที่เปลี่ยนแปลงไป
    ถ้าเราเปรียบเทียบหน้าตาของ Photoshop CS4 กับ Photoshop CS5 จะเห็นว่ามีความเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก แต่ถ้าไปเปรียบเทียบกับ Photoshop CS3 หรือเวอร์ชั่นเก่าๆ ที่ต่ำลงมาก ก็จะพบว่าแตกต่างกันค่อนข้างมาก (แต่เป็นในทางที่ดีและสวยงาม)
  2. อัพเดทให้ทันสมัยคล้ายกับ Windows 7
    จะพบว่าการใช้งานหลายๆ อย่างของ Photoshop CS5 จะมีความคล้ายคลึงกับ Windows 7 ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการแสดง Thumbnails บน Taskbar เพื่อแสดงฉบับย่อก่อนการคลิกเข้าไปดูจริง หรือเทคนิคการขยายหน้าต่างให้เต็มโดยการเลือกไปวางด้านบนหน้าของจอ เป็นต้น
  3. Mini Bridge
    ตัวช่วยอย่างหนึ่งของผู้ใช้งาน Adobe Photoshop ในเวอร์ชั่นก่อนคือ Adobe Bridge ซึ่งใช้สำหรับการแสดงภาพในลักษณะเดียวกับ Windows Explorer แต่นี่แสดงบน Photoshop โดยตรง ทำให้เราสามารถบริหารจัดการภาพได้ง่ายขึ้น แต่ปัญหาก็คือกินทรัพยากรของเครื่องมาก ทำให้เครื่องทำงานช้า แต่วันนี้มี Mini Bridge ให้ใช้งานเพิ่มเข้ามา น่าจะถูกใจอีกหลายๆ คน
  4. ทำภาพเอียงให้ตรง
    กรณีเรามีภาพเอียง เราสามารถให้ Photoshop ปรับภาพให้ตรงได้อัตโนมัติ โดยใช้คำสั่ง Ruler Tool และเลือกตำแหน่งสองจุดที่เอียง เพื่อให้ปรับภาพให้ตรง ?
  5. ปรับแขนขาเหมือนหุ่น
    อีกหนึ่งความสามารถใหม่ และดูจะเป็นความสามารถที่ค่อนข้างเด่นมากๆ นั่นคือ การปรับแขนขาของภาพ (ไม่จำเป็นต้องเป็นภาพคนก็ได้) สามารถปรับได้เช่นเดียวกับการปรับหุ่นเลยครับ สนใจต้องไปลองใช้คำสั่ง Puppet Warp (อยู่ในคำสั่ง Edit)
  6. ลบภาพที่ไม่ต้องการออกแบบเนียนๆ
    หลายๆ ครั่งรูปภาพที่เราถ่าย หรือภาพจากอินเตอร์เน็ต บางครั้งเรามีความจำเป็นจะต้องเอาบางส่วนของภาพออก การ retouch ภาพก็ต้องใช้เวลามากพอสมควร แต่วันนี้ Photoshop CS5 มีเครื่องมือเด็ดๆ ที่จะทำให้เราสามารถลบภาพที่ไม่ต้องการออกง่ายๆ โดยใช้คำสั่ง Content-Aware
  7. HDR (High Dynamic Range)
    สำหรับนักถ่ายภาพโดยเฉพาะ เพราะความสามารถนี้จะใช้สำหรับการถ่ายภาพในสภาพแสงที่มืดและสว่าง จากนั้นก็ใช้ Photoshop ช่วยรวมภาพเพื่อให้ได้รายละเอียดของภาพที่สมบูรณ์มากขึ้น (ซึ่งปกติจะไม่สามารถถ่ายด้วยกล้องได้) คำสั่งนี้จะอยู่ที่หัวข้อ Automate Merge to HDR Pro
  8. Lens Corrections
    อีกหนึ่งความสามารถใหม่สำหรับนักถ่ายภาพโดยเฉพาะ การนำภาพจากกล้องดิจิตอลเข้ามาแก้ไขใน Photoshop สิ่งหนึ่งที่อาจมีความผิดเพี้ยนไปบ้าง โดยเฉพาะกับการนำไฟล์ประเภท RAW มาใช้และมีการแปลงเป็น ?Jpeg ผลลัพธ์ที่ได้อาจผิดไปบ้างจากต้นฉบับ เนื่องจากไฟล์ RAW ของแต่ละกล้อง ก็จะมีเทคนิดในการจัดเก็บแตกต่างกันไปบ้าง ดังนั้น Photoshop CS5 จึงมีการรวมรวบวิธีการของแต่กล้องมา เพื่อให้เวลาดึงภาพมาใช้งาน จะได้ผิดพลาดน้อยที่สุด คำสั่งนี้อยู่ในหัวข้อ Filter ครับ
  9. เลือกบางส่วนได้ง่ายขึ้น
    เวลาเราตกแต่งภาพ ขั้นตอนหนึ่งที่เป็นปัญหามากๆ ก็คือ การเลือกบางส่วนของภาพ หรือที่เราเรียกว่า Selection ทั้งนี้เพื่อจัดการในส่วนที่เราเลือก ไม่ว่าจะเป็นการลบภาพ ปรับแต่งสีสรร หรือการทำซ้ำ เพื่อไปใช้กับภาพหรืองานอื่นๆ คำสั่งนี้ก็คือ Quick Selection Tool ซึ่งปกติหลายๆ คนรวมทั้งผมด้วย มักจะใช้ Magic Wand Tool ซะมากกว่า
ความสามารถใหม่ของ Adobe Photoshop CS5 ยังไม่หมดน่ะครับ แต่เห็นว่าบางอย่างก็ใกล้เคียงกับเวอร์ชั่นเก่าๆ แต่สำหรับเพื่อนๆ ที่อยากจะทดสอบความสามารถใหม่ ทีมงาน ไอที-ไกด์ดอทคอม จะมาแนะนำให้กับคุณในโอกาสต่อๆ ไปครับ
 
2
วิธีติดตั่ง
1.
2.
3.
4.กำลังอ่านไฟล์ที่จำเป็นสำหรับการติดตั้ง
5.รายละเอียดเกี่ยวกับ License... กดปุ่ม Accept
6. พอกด Accept แล้วให้เรากลับไปยังไฟล์ติดตั่ง
7.
8.กดที่ Generate แล้ว copy
9.กลับไปยังหน้าจอ Setup คลิกขวาที่ช่อง
serial number แล้วเลือก Paste
10.เมื่อใส่ serial number ที่ถูกต้องแล้ว
ด้านขวาบนจะมีให้เลือกภาษาก่อน เลือกภาษาอังกฤษแล้วกด Next
11.หน้านี้สำหรับการลงทะเบียนตัวโปรแกรม เจ้าของแนะนำว่าห้ามลงทะเบียน
ให้กดปุ่ม SKIP THIS STEP เพื่อข้างขั้นตอนนี้ไป
12. หน้านี้เลือกโปรแกรมที่ต้องการจะเลือก
มีข้อสังเกตคือ สำหรับท่านที่ใช้ Windows รุ่น 32 บิท จะไม่สามารถลง 2 ตัวนี้ คือ
i. Adobe Photoshop CS5 (64 Bit) - ชื่อก็บอกแล้วว่า 64 bit ติดตั้งบน Windows 32 bit ไม่ได้
ii. Adobe Premier CS5 - ตัวนี้มีแต่ 64 bit เท่านั้น จะไม่มี 32 bit
iii. Adobe After Effect CS5 - ตัวนี้มีแต่ 64 bit เท่านั้น จะไม่มี 32 bit
แต่สำหรับท่านที่ใช้ 64 bit สามารถติดตั้งได้ทั้งหมด รวมทั้ง Adobe Photoshop CS5 ที่เป็นแบบ 32 bit ด้วย
อันนี้ไม่รู้เหมือนกันว่า จะให้ติดตั้งทั้ง 32 และ 64 bit ในเครื่องเดียวกันทำไม
13.Setup กำลังทำการ copy file ของโปรแกรมที่เราเลือกที่จะลงไปยังเครื่อง
14.ติดตั้งเสร็จแล้ว ICON ต่าง ๆ ในหน้าจอนี้จะน้อย เพราะผมเลือกที่จะติดตั้งแค่
Photoshop 64 , InDesign , Illustrator , Fireworks และ Dreamweaver
ที่เหลือผมไม่ได้ใช้ ลงไปก็หนักเครื่องเลยเลือกที่จะไม่ติดตั้ง
เสร็จแล้วครับ คงเข้าใจกันนะครับ








ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5 พิมพ์

          Photoshop Cs5 จะแตกต่างจาก Cs3 และ Cs4 ไปบ้างเล็กน้อย กล่าวคือโดยพื้นฐานจะคงเดิม แต่จะปรับการใช้งานให้ดูง่ายขึ้น มีการเก็บรวบรวมเครื่องมือที่เกี่ยวข้องเอาไว้ในที่เดียวกัน เพิ่มชุดเครื่องมือเข้ามาใหม่ และยังลดขั้นตอนการทำงานให้น้อยลง ทำให้ใช้งานสะดวกยิ่งขึ้น ในเวอร์ชั่นนี้ได้เพิ่มคำสั่ง และแถบเครื่องมือที่ใช้บ่อย ๆ วางแยกออกมาจากกลุ่มเครื่องมือเดิม เช่น เครื่องมือปรับมุมมอง เครื่องมือปรับแต่งภาพที่รวมอยู่ในพาเนลเดียวกัน เช่น พาเนล Adjustments ส่วนการทำงานหลัก ๆ ยังคงอิงการใช้งานเหมือนเวอร์ชั่นที่ผ่าน ๆ มา ซึ่งหน้าจอใหม่ของ Photoshop Cs5 ก็จะมีส่วนประกอบดังภาพ

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5

เครื่องมือใน Photoshop CS5....Move Tool


Move tool เป็นเครื่องมือที่ใช้เคลื่อนที่หรือย้ายวัตถุ ตามที่เราต้องการ เครื่องมือ Move tool อาจจะใช้กับ Layer ที่เราต้องการจะย้ายไปตกแต่งตรงส่วนอื่นๆหรือย้ายวัตถุที่เราใช้ Selection Tool เลือกเอาไว้
สำหรับการใช้ Move Tool สามารถใช้งานได้อย่างง่ายๆ เช่น ถ้าต้องการจะเคลื่อนย้าย Layer ไปไว้ในตำแหน่งอื่นก็เลือก Layer นั้นเสียก่อนแล้วใช้ Move tool แดรกเมาส์ไปวางวัตถุไว้ตรงที่ต้องการ หรือสารถนำ Layer นั้นออกไปสู่ไฟล์งานอีกไฟล์หนึ่งได้ด้วย
เรามาดู Option ต่าง ๆ ใน Option Bar


รูปที่ 1 Move Option Bar
- ช่องแรก Auto Select Layer เมื่อเราเลือกช่องนี้ โปรแกรมจะเลือกเลเยอร์ที่อยู่ใต้เคอร์เซอร์ให้ Active ทันที เป็นการเลือกเลเยอร์ให้ทำงานโดยอัตโนมัตินั้นนเอง
- ช่องที่สอง Show Bounding Box เมื่อเราเลือกช่องนี้ เลเยอร์ที่เราเลือกจะปรากฏกรอบขึ้นมาดังรูปที่ 2 เราสามารถที่จะทำอะไรก็ได้กับกรอบนี้ และภาพที่อยู่ในกล่องนี้ เหมือนกับใช้คำสั่ง Free Transform เช่น ย่อ , ขยาย ,หมุน , ปรับภาพแบบ Perspective


รูปที่ 2 Bounding Box
ในชุดหลังนั้น จะเกี่ยวกับการจัดเรียงของเลเยอร์ตั้งแต่สองเลเยอร์ขึ้นไป โดยอาศัยเส้นอ้างอิงเส้นหนึ่ง หรือ หลายเส้นแล้วแต่จำนวนเลเยอร์ที่มี ปกติแล้วจะใช้งานไม่ได้ จนกว่าเราจะลิงค์เลเยอร์เข้าด้วยกันตั้งแต่ 2 เลเยอร์เข้าด้วยกัน


ชุดแรกนี้ จะ Active เมื่อมีการลิงค์เลเยอร์ตั้งแต่สองเลเยอร์ขึ้นไป โดยเส้นอ้างอิง โปรแกรมอาจจะกำหนดขึ้นมาเอง (โดยจะเป็นขอบของภาพทั้งด้านหน้า ด้านหลัง หรือ ตรงกึ่งกลาง) หรือเราอาจจะกำหนดเส้นอ้างอิงเองโดยใช้เครื่องมือ Single Row-Column Marquee Tool สำหรับการจัดเรียงของแต่ละอันนั้นดูได้จากรูปตัวอย่าง โดยเส้นสีดำนั้นคือเส้นอ้างอิง จะเห็นว่า ระยะห่างของเส้นอ้างอิงแต่ละเส้นจะห่างเท่ากัน และที่สำคัญ เส้นอ้างอิงจะยึดเลเยอร์ที่ Active เป็นหลัก ดังรูปที่ 3เลเยอร์ที่ Active คือเลเยอร์ที่มีรูปพู่กัน ส่วนเลเยอร์ที่เป็นเลเยอร์ลิงค์จะมีรูปห่วงอยู่ข้างหน้า


รูปที่ 3 ลักษณะของเลเยอร์ที่ Active กับเลเยอร์ที่เป็นลิงค์





ชุดที่สองนี้จะ Active เมื่อมีการลิงค์เลเยอร์ตั้งแต่สามเลเยอร์ขึ้นไป โดยเส้นอ้างอิง โปรแกรมจะกำหนดขึ้นมาเองเท่านั้น (โดยจะเป็นขอบของภาพทั้งด้านหน้า ด้านหลัง หรือ ตรงกึ่งกลาง) เราไม่สามารถจะกำหนดเส้นอ้างอิงเองได้เลย สำหรับการจัดเรียงของแต่ละอันนั้นดูได้จากรูปตัวอย่าง โดยเส้นสีดำนั้นคือเส้นอ้างอิง หลักเกณฑ์เรื่องระยะห่างของเส้นอ้างอิงแต่ละเลเยอร์จะเหมือนกันกับชุดแรก


เมื่อเราทำการลิงค์เลเยอร์เข้าด้วยกัน และใช้ Move Tool เลื่อนเลเยอร์ใด เลเยอร์หนึ่ง เลเยอร์ที่ลิงค์อยู่ก็จะเลื่อนตามไปด้วย
ประโยชน์อีกอย่างหนึ่งของเครื่องมือ Move Tool ก็คือ เอาไว้ตัดภาพใน Selection ออกมาดังในรูปที่ 4




รูปที่ 4 การใช้ Move Tool ตัดภาพที่เลือกไว้
นอกจากตัดภาพที่เลือกไว้ในไฟล์เดียวกันแล้ว ยังสามารถึงภาพจากไฟล์อื่นมาก็ได้ อาจจะดึงทั้งภาพ หรือ บางส่วนก็ได้ ดังรูปที่ 5



รูปที่ 5 การใช้ Move Tool ตัดภาพที่เลือกไว้จากไฟล์อื่น

เราสามารถใช้ Move Tool ทำการก็อบปี้ภาพในเลยอร์ที่ Active อยู่ หรือ ส่วนที่เลือกไว้ได้ โดยการกดคีย์ Alt ค้างไว้แล้วลากภาพนั้นไปวางไว้ที่อื่น ดังรูปที่ 6 แต่ภาพที่ก็อบปี้มานั้นเราก็อบปี้มาทั้งเลเยอร์ ภาพที่ก็อบปี้นั้นจะกลายเป็นเลเยอร์ใหม่ ถ้าก็อบปี้มาจากส่วนที่ Selection ไว้ ภาพที่ก็อบปี้มานั้นจะยังอยู่ในเลเยอร์เดิม



รูปที่ 6 การใช้ Move Tool ก็อบปี้ภาพ
หากต้องการเลื่อนภาพไปเป็นแนวเส้นตรง ไม่ว่าจะเป็นด้านบนหรือด้านล่าง สามารถทำได้โดยกดคีย์ Shift ค้างไว้ และเลื่อนไป คล้าย ๆ กับเปิดใช้งาน Snap ไว้

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5 พิมพ์

          Photoshop Cs5 จะแตกต่างจาก Cs3 และ Cs4 ไปบ้างเล็กน้อย กล่าวคือโดยพื้นฐานจะคงเดิม แต่จะปรับการใช้งานให้ดูง่ายขึ้น มีการเก็บรวบรวมเครื่องมือที่เกี่ยวข้องเอาไว้ในที่เดียวกัน เพิ่มชุดเครื่องมือเข้ามาใหม่ และยังลดขั้นตอนการทำงานให้น้อยลง ทำให้ใช้งานสะดวกยิ่งขึ้น ในเวอร์ชั่นนี้ได้เพิ่มคำสั่ง และแถบเครื่องมือที่ใช้บ่อย ๆ วางแยกออกมาจากกลุ่มเครื่องมือเดิม เช่น เครื่องมือปรับมุมมอง เครื่องมือปรับแต่งภาพที่รวมอยู่ในพาเนลเดียวกัน เช่น พาเนล Adjustments ส่วนการทำงานหลัก ๆ ยังคงอิงการใช้งานเหมือนเวอร์ชั่นที่ผ่าน ๆ มา ซึ่งหน้าจอใหม่ของ Photoshop Cs5 ก็จะมีส่วนประกอบดังภาพ

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5

1

          Application Bar (แอพพลิเคชั่นบาร์) จะเป็นแถบเครื่องมือที่เก็บปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อย ๆ เอาไว้ เช่น เปิดโปรแกรม Bridge หมุนพื้นที่ทำงาน ย่อ-ขยายภาพ, จัดเรียงวินโดว์ภาพ และจัดองค์ประกอบของเครื่องมือตามพื้นที่ใช้งาน (Workspace)
          Menu Bar (เมนูบาร์) ประกอบด้วยกลุ่มคำสั่งต่าง ๆ ที่ใช้จัดการกับไฟล์, ทำงานกับรูปภาพ และใช้การปรับแต่งการทำงานของโปรแกรม โดยแบ่งเมนูตามลักษณะงาน นอกจากนี้บางเมนูหลัก จะมีเมนูย่อยซ้อนอยู่ โดยสังเกตจากเครื่องหมาย 3 ซึ่งคุณต้องเปิดเข้าไปเพื่อเลือกคำสั่งภายในอีกที
          Tool Panel (ทูลพาเนล) หรือ กล่องเครื่องมือ จะประกอบไปด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการวาด ตกแต่ง และแก้ไขภาพ เครื่องมือเหล่านี้มีจำนวนมาก ดังนั้นจึงมีการรวมเครื่องมือที่ทำหน้าที่คล้าย ๆ กันไว้ในปุ่มเดียวกัน โดยจะมีลักษณะรูปสามเหลี่ยมอยู่บริเวณมุมด้านล่างดังภาพ 2 เพื่อบอกให้รู้ว่าในปุ่มนี้ยังมีเครื่องมืออื่นอยู่ด้วย
          Option Bar (ออปชั่นบาร์) เป็นส่วนที่ใช้ปรับแต่งค่าการทำงานของเครื่องมือต่าง ๆ โดยรายละเอียดในออปชั่นบาร์จะเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่เราเลือกจากทูลบ็อกซ์ในขณะนั้น เช่น เมื่อเราเลือกเครื่องมือ Brush (พู่กัน) บนออปชั่นบาร์จะปรากฏออปชั่นที่ใช้ในการกำหนดขนาด และลักษณะหัวแปรง, โหมดในการระบายความโปร่งใสของสี และอัตราการไหลของสี เป็นต้น
          Panel (พาเนล) เป็นวินโดว์ย่อย ๆ ที่ใช้เลือกรายละเอียด หรือคำสั่งควบคุมการทำงานต่าง ๆ ของโปรแกรม ใน Photoshop มีพาเนลอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น พาเนล Color ใช้สำหรับเลือกสี, พาเนล Layers ใช้สำหรับจัดการกับเลเยอร์ และพาเนล Info ใช้แสดงค่าสีตรงตำแหน่งที่ชี้เมาส์ รวมถึงขนาด/ตำแหน่งของพื้นที่ที่เลือกไว้
ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5 พิมพ์

          Photoshop Cs5 จะแตกต่างจาก Cs3 และ Cs4 ไปบ้างเล็กน้อย กล่าวคือโดยพื้นฐานจะคงเดิม แต่จะปรับการใช้งานให้ดูง่ายขึ้น มีการเก็บรวบรวมเครื่องมือที่เกี่ยวข้องเอาไว้ในที่เดียวกัน เพิ่มชุดเครื่องมือเข้ามาใหม่ และยังลดขั้นตอนการทำงานให้น้อยลง ทำให้ใช้งานสะดวกยิ่งขึ้น ในเวอร์ชั่นนี้ได้เพิ่มคำสั่ง และแถบเครื่องมือที่ใช้บ่อย ๆ วางแยกออกมาจากกลุ่มเครื่องมือเดิม เช่น เครื่องมือปรับมุมมอง เครื่องมือปรับแต่งภาพที่รวมอยู่ในพาเนลเดียวกัน เช่น พาเนล Adjustments ส่วนการทำงานหลัก ๆ ยังคงอิงการใช้งานเหมือนเวอร์ชั่นที่ผ่าน ๆ มา ซึ่งหน้าจอใหม่ของ Photoshop Cs5 ก็จะมีส่วนประกอบดังภาพ

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5 พิมพ์

          Photoshop Cs5 จะแตกต่างจาก Cs3 และ Cs4 ไปบ้างเล็กน้อย กล่าวคือโดยพื้นฐานจะคงเดิม แต่จะปรับการใช้งานให้ดูง่ายขึ้น มีการเก็บรวบรวมเครื่องมือที่เกี่ยวข้องเอาไว้ในที่เดียวกัน เพิ่มชุดเครื่องมือเข้ามาใหม่ และยังลดขั้นตอนการทำงานให้น้อยลง ทำให้ใช้งานสะดวกยิ่งขึ้น ในเวอร์ชั่นนี้ได้เพิ่มคำสั่ง และแถบเครื่องมือที่ใช้บ่อย ๆ วางแยกออกมาจากกลุ่มเครื่องมือเดิม เช่น เครื่องมือปรับมุมมอง เครื่องมือปรับแต่งภาพที่รวมอยู่ในพาเนลเดียวกัน เช่น พาเนล Adjustments ส่วนการทำงานหลัก ๆ ยังคงอิงการใช้งานเหมือนเวอร์ชั่นที่ผ่าน ๆ มา ซึ่งหน้าจอใหม่ของ Photoshop Cs5 ก็จะมีส่วนประกอบดังภาพ

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5

1

          Application Bar (แอพพลิเคชั่นบาร์) จะเป็นแถบเครื่องมือที่เก็บปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อย ๆ เอาไว้ เช่น เปิดโปรแกรม Bridge หมุนพื้นที่ทำงาน ย่อ-ขยายภาพ, จัดเรียงวินโดว์ภาพ และจัดองค์ประกอบของเครื่องมือตามพื้นที่ใช้งาน (Workspace)
          Menu Bar (เมนูบาร์) ประกอบด้วยกลุ่มคำสั่งต่าง ๆ ที่ใช้จัดการกับไฟล์, ทำงานกับรูปภาพ และใช้การปรับแต่งการทำงานของโปรแกรม โดยแบ่งเมนูตามลักษณะงาน นอกจากนี้บางเมนูหลัก จะมีเมนูย่อยซ้อนอยู่ โดยสังเกตจากเครื่องหมาย 3 ซึ่งคุณต้องเปิดเข้าไปเพื่อเลือกคำสั่งภายในอีกที
          Tool Panel (ทูลพาเนล) หรือ กล่องเครื่องมือ จะประกอบไปด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการวาด ตกแต่ง และแก้ไขภาพ เครื่องมือเหล่านี้มีจำนวนมาก ดังนั้นจึงมีการรวมเครื่องมือที่ทำหน้าที่คล้าย ๆ กันไว้ในปุ่มเดียวกัน โดยจะมีลักษณะรูปสามเหลี่ยมอยู่บริเวณมุมด้านล่างดังภาพ 2 เพื่อบอกให้รู้ว่าในปุ่มนี้ยังมีเครื่องมืออื่นอยู่ด้วย
          Option Bar (ออปชั่นบาร์) เป็นส่วนที่ใช้ปรับแต่งค่าการทำงานของเครื่องมือต่าง ๆ โดยรายละเอียดในออปชั่นบาร์จะเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่เราเลือกจากทูลบ็อกซ์ในขณะนั้น เช่น เมื่อเราเลือกเครื่องมือ Brush (พู่กัน) บนออปชั่นบาร์จะปรากฏออปชั่นที่ใช้ในการกำหนดขนาด และลักษณะหัวแปรง, โหมดในการระบายความโปร่งใสของสี และอัตราการไหลของสี เป็นต้น
          Panel (พาเนล) เป็นวินโดว์ย่อย ๆ ที่ใช้เลือกรายละเอียด หรือคำสั่งควบคุมการทำงานต่าง ๆ ของโปรแกรม ใน Photoshop มีพาเนลอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น พาเนล Color ใช้สำหรับเลือกสี, พาเนล Layers ใช้สำหรับจัดการกับเลเยอร์ และพาเนล Info ใช้แสดงค่าสีตรงตำแหน่งที่ชี้เมาส์ รวมถึงขนาด/ตำแหน่งของพื้นที่ที่เลือกไว้

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5 พิมพ์

          Photoshop Cs5 จะแตกต่างจาก Cs3 และ Cs4 ไปบ้างเล็กน้อย กล่าวคือโดยพื้นฐานจะคงเดิม แต่จะปรับการใช้งานให้ดูง่ายขึ้น มีการเก็บรวบรวมเครื่องมือที่เกี่ยวข้องเอาไว้ในที่เดียวกัน เพิ่มชุดเครื่องมือเข้ามาใหม่ และยังลดขั้นตอนการทำงานให้น้อยลง ทำให้ใช้งานสะดวกยิ่งขึ้น ในเวอร์ชั่นนี้ได้เพิ่มคำสั่ง และแถบเครื่องมือที่ใช้บ่อย ๆ วางแยกออกมาจากกลุ่มเครื่องมือเดิม เช่น เครื่องมือปรับมุมมอง เครื่องมือปรับแต่งภาพที่รวมอยู่ในพาเนลเดียวกัน เช่น พาเนล Adjustments ส่วนการทำงานหลัก ๆ ยังคงอิงการใช้งานเหมือนเวอร์ชั่นที่ผ่าน ๆ มา ซึ่งหน้าจอใหม่ของ Photoshop Cs5 ก็จะมีส่วนประกอบดังภาพ

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5

1

          Application Bar (แอพพลิเคชั่นบาร์) จะเป็นแถบเครื่องมือที่เก็บปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อย ๆ เอาไว้ เช่น เปิดโปรแกรม Bridge หมุนพื้นที่ทำงาน ย่อ-ขยายภาพ, จัดเรียงวินโดว์ภาพ และจัดองค์ประกอบของเครื่องมือตามพื้นที่ใช้งาน (Workspace)
          Menu Bar (เมนูบาร์) ประกอบด้วยกลุ่มคำสั่งต่าง ๆ ที่ใช้จัดการกับไฟล์, ทำงานกับรูปภาพ และใช้การปรับแต่งการทำงานของโปรแกรม โดยแบ่งเมนูตามลักษณะงาน นอกจากนี้บางเมนูหลัก จะมีเมนูย่อยซ้อนอยู่ โดยสังเกตจากเครื่องหมาย 3 ซึ่งคุณต้องเปิดเข้าไปเพื่อเลือกคำสั่งภายในอีกที
          Tool Panel (ทูลพาเนล) หรือ กล่องเครื่องมือ จะประกอบไปด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการวาด ตกแต่ง และแก้ไขภาพ เครื่องมือเหล่านี้มีจำนวนมาก ดังนั้นจึงมีการรวมเครื่องมือที่ทำหน้าที่คล้าย ๆ กันไว้ในปุ่มเดียวกัน โดยจะมีลักษณะรูปสามเหลี่ยมอยู่บริเวณมุมด้านล่างดังภาพ 2 เพื่อบอกให้รู้ว่าในปุ่มนี้ยังมีเครื่องมืออื่นอยู่ด้วย
          Option Bar (ออปชั่นบาร์) เป็นส่วนที่ใช้ปรับแต่งค่าการทำงานของเครื่องมือต่าง ๆ โดยรายละเอียดในออปชั่นบาร์จะเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่เราเลือกจากทูลบ็อกซ์ในขณะนั้น เช่น เมื่อเราเลือกเครื่องมือ Brush (พู่กัน) บนออปชั่นบาร์จะปรากฏออปชั่นที่ใช้ในการกำหนดขนาด และลักษณะหัวแปรง, โหมดในการระบายความโปร่งใสของสี และอัตราการไหลของสี เป็นต้น
          Panel (พาเนล) เป็นวินโดว์ย่อย ๆ ที่ใช้เลือกรายละเอียด หรือคำสั่งควบคุมการทำงานต่าง ๆ ของโปรแกรม ใน Photoshop มีพาเนลอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น พาเนล Color ใช้สำหรับเลือกสี, พาเนล Layers ใช้สำหรับจัดการกับเลเยอร์ และพาเนล Info ใช้แสดงค่าสีตรงตำแหน่งที่ชี้เมาส์ รวมถึงขนาด/ตำแหน่งของพื้นที่ที่เลือกไว้

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5 พิมพ์

          Photoshop Cs5 จะแตกต่างจาก Cs3 และ Cs4 ไปบ้างเล็กน้อย กล่าวคือโดยพื้นฐานจะคงเดิม แต่จะปรับการใช้งานให้ดูง่ายขึ้น มีการเก็บรวบรวมเครื่องมือที่เกี่ยวข้องเอาไว้ในที่เดียวกัน เพิ่มชุดเครื่องมือเข้ามาใหม่ และยังลดขั้นตอนการทำงานให้น้อยลง ทำให้ใช้งานสะดวกยิ่งขึ้น ในเวอร์ชั่นนี้ได้เพิ่มคำสั่ง และแถบเครื่องมือที่ใช้บ่อย ๆ วางแยกออกมาจากกลุ่มเครื่องมือเดิม เช่น เครื่องมือปรับมุมมอง เครื่องมือปรับแต่งภาพที่รวมอยู่ในพาเนลเดียวกัน เช่น พาเนล Adjustments ส่วนการทำงานหลัก ๆ ยังคงอิงการใช้งานเหมือนเวอร์ชั่นที่ผ่าน ๆ มา ซึ่งหน้าจอใหม่ของ Photoshop Cs5 ก็จะมีส่วนประกอบดังภาพ

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5

1

          Application Bar (แอพพลิเคชั่นบาร์) จะเป็นแถบเครื่องมือที่เก็บปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อย ๆ เอาไว้ เช่น เปิดโปรแกรม Bridge หมุนพื้นที่ทำงาน ย่อ-ขยายภาพ, จัดเรียงวินโดว์ภาพ และจัดองค์ประกอบของเครื่องมือตามพื้นที่ใช้งาน (Workspace)
          Menu Bar (เมนูบาร์) ประกอบด้วยกลุ่มคำสั่งต่าง ๆ ที่ใช้จัดการกับไฟล์, ทำงานกับรูปภาพ และใช้การปรับแต่งการทำงานของโปรแกรม โดยแบ่งเมนูตามลักษณะงาน นอกจากนี้บางเมนูหลัก จะมีเมนูย่อยซ้อนอยู่ โดยสังเกตจากเครื่องหมาย 3 ซึ่งคุณต้องเปิดเข้าไปเพื่อเลือกคำสั่งภายในอีกที
          Tool Panel (ทูลพาเนล) หรือ กล่องเครื่องมือ จะประกอบไปด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการวาด ตกแต่ง และแก้ไขภาพ เครื่องมือเหล่านี้มีจำนวนมาก ดังนั้นจึงมีการรวมเครื่องมือที่ทำหน้าที่คล้าย ๆ กันไว้ในปุ่มเดียวกัน โดยจะมีลักษณะรูปสามเหลี่ยมอยู่บริเวณมุมด้านล่างดังภาพ 2 เพื่อบอกให้รู้ว่าในปุ่มนี้ยังมีเครื่องมืออื่นอยู่ด้วย
          Option Bar (ออปชั่นบาร์) เป็นส่วนที่ใช้ปรับแต่งค่าการทำงานของเครื่องมือต่าง ๆ โดยรายละเอียดในออปชั่นบาร์จะเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่เราเลือกจากทูลบ็อกซ์ในขณะนั้น เช่น เมื่อเราเลือกเครื่องมือ Brush (พู่กัน) บนออปชั่นบาร์จะปรากฏออปชั่นที่ใช้ในการกำหนดขนาด และลักษณะหัวแปรง, โหมดในการระบายความโปร่งใสของสี และอัตราการไหลของสี เป็นต้น
          Panel (พาเนล) เป็นวินโดว์ย่อย ๆ ที่ใช้เลือกรายละเอียด หรือคำสั่งควบคุมการทำงานต่าง ๆ ของโปรแกรม ใน Photoshop มีพาเนลอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น พาเนล Color ใช้สำหรับเลือกสี, พาเนล Layers ใช้สำหรับจัดการกับเลเยอร์ และพาเนล Info ใช้แสดงค่าสีตรงตำแหน่งที่ชี้เมาส์ รวมถึงขนาด/ตำแหน่งของพื้นที่ที่เลือกไว้

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5 พิมพ์

          Photoshop Cs5 จะแตกต่างจาก Cs3 และ Cs4 ไปบ้างเล็กน้อย กล่าวคือโดยพื้นฐานจะคงเดิม แต่จะปรับการใช้งานให้ดูง่ายขึ้น มีการเก็บรวบรวมเครื่องมือที่เกี่ยวข้องเอาไว้ในที่เดียวกัน เพิ่มชุดเครื่องมือเข้ามาใหม่ และยังลดขั้นตอนการทำงานให้น้อยลง ทำให้ใช้งานสะดวกยิ่งขึ้น ในเวอร์ชั่นนี้ได้เพิ่มคำสั่ง และแถบเครื่องมือที่ใช้บ่อย ๆ วางแยกออกมาจากกลุ่มเครื่องมือเดิม เช่น เครื่องมือปรับมุมมอง เครื่องมือปรับแต่งภาพที่รวมอยู่ในพาเนลเดียวกัน เช่น พาเนล Adjustments ส่วนการทำงานหลัก ๆ ยังคงอิงการใช้งานเหมือนเวอร์ชั่นที่ผ่าน ๆ มา ซึ่งหน้าจอใหม่ของ Photoshop Cs5 ก็จะมีส่วนประกอบดังภาพ

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5

1

          Application Bar (แอพพลิเคชั่นบาร์) จะเป็นแถบเครื่องมือที่เก็บปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อย ๆ เอาไว้ เช่น เปิดโปรแกรม Bridge หมุนพื้นที่ทำงาน ย่อ-ขยายภาพ, จัดเรียงวินโดว์ภาพ และจัดองค์ประกอบของเครื่องมือตามพื้นที่ใช้งาน (Workspace)
          Menu Bar (เมนูบาร์) ประกอบด้วยกลุ่มคำสั่งต่าง ๆ ที่ใช้จัดการกับไฟล์, ทำงานกับรูปภาพ และใช้การปรับแต่งการทำงานของโปรแกรม โดยแบ่งเมนูตามลักษณะงาน นอกจากนี้บางเมนูหลัก จะมีเมนูย่อยซ้อนอยู่ โดยสังเกตจากเครื่องหมาย 3 ซึ่งคุณต้องเปิดเข้าไปเพื่อเลือกคำสั่งภายในอีกที
          Tool Panel (ทูลพาเนล) หรือ กล่องเครื่องมือ จะประกอบไปด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการวาด ตกแต่ง และแก้ไขภาพ เครื่องมือเหล่านี้มีจำนวนมาก ดังนั้นจึงมีการรวมเครื่องมือที่ทำหน้าที่คล้าย ๆ กันไว้ในปุ่มเดียวกัน โดยจะมีลักษณะรูปสามเหลี่ยมอยู่บริเวณมุมด้านล่างดังภาพ 2 เพื่อบอกให้รู้ว่าในปุ่มนี้ยังมีเครื่องมืออื่นอยู่ด้วย
          Option Bar (ออปชั่นบาร์) เป็นส่วนที่ใช้ปรับแต่งค่าการทำงานของเครื่องมือต่าง ๆ โดยรายละเอียดในออปชั่นบาร์จะเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่เราเลือกจากทูลบ็อกซ์ในขณะนั้น เช่น เมื่อเราเลือกเครื่องมือ Brush (พู่กัน) บนออปชั่นบาร์จะปรากฏออปชั่นที่ใช้ในการกำหนดขนาด และลักษณะหัวแปรง, โหมดในการระบายความโปร่งใสของสี และอัตราการไหลของสี เป็นต้น
          Panel (พาเนล) เป็นวินโดว์ย่อย ๆ ที่ใช้เลือกรายละเอียด หรือคำสั่งควบคุมการทำงานต่าง ๆ ของโปรแกรม ใน Photoshop มีพาเนลอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น พาเนล Color ใช้สำหรับเลือกสี, พาเนล Layers ใช้สำหรับจัดการกับเลเยอร์ และพาเนล Info ใช้แสดงค่าสีตรงตำแหน่งที่ชี้เมาส์ รวมถึงขนาด/ตำแหน่งของพื้นที่ที่เลือกไว้

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5 พิมพ์

          Photoshop Cs5 จะแตกต่างจาก Cs3 และ Cs4 ไปบ้างเล็กน้อย กล่าวคือโดยพื้นฐานจะคงเดิม แต่จะปรับการใช้งานให้ดูง่ายขึ้น มีการเก็บรวบรวมเครื่องมือที่เกี่ยวข้องเอาไว้ในที่เดียวกัน เพิ่มชุดเครื่องมือเข้ามาใหม่ และยังลดขั้นตอนการทำงานให้น้อยลง ทำให้ใช้งานสะดวกยิ่งขึ้น ในเวอร์ชั่นนี้ได้เพิ่มคำสั่ง และแถบเครื่องมือที่ใช้บ่อย ๆ วางแยกออกมาจากกลุ่มเครื่องมือเดิม เช่น เครื่องมือปรับมุมมอง เครื่องมือปรับแต่งภาพที่รวมอยู่ในพาเนลเดียวกัน เช่น พาเนล Adjustments ส่วนการทำงานหลัก ๆ ยังคงอิงการใช้งานเหมือนเวอร์ชั่นที่ผ่าน ๆ มา ซึ่งหน้าจอใหม่ของ Photoshop Cs5 ก็จะมีส่วนประกอบดังภาพ

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5

1

          Application Bar (แอพพลิเคชั่นบาร์) จะเป็นแถบเครื่องมือที่เก็บปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อย ๆ เอาไว้ เช่น เปิดโปรแกรม Bridge หมุนพื้นที่ทำงาน ย่อ-ขยายภาพ, จัดเรียงวินโดว์ภาพ และจัดองค์ประกอบของเครื่องมือตามพื้นที่ใช้งาน (Workspace)
          Menu Bar (เมนูบาร์) ประกอบด้วยกลุ่มคำสั่งต่าง ๆ ที่ใช้จัดการกับไฟล์, ทำงานกับรูปภาพ และใช้การปรับแต่งการทำงานของโปรแกรม โดยแบ่งเมนูตามลักษณะงาน นอกจากนี้บางเมนูหลัก จะมีเมนูย่อยซ้อนอยู่ โดยสังเกตจากเครื่องหมาย 3 ซึ่งคุณต้องเปิดเข้าไปเพื่อเลือกคำสั่งภายในอีกที
          Tool Panel (ทูลพาเนล) หรือ กล่องเครื่องมือ จะประกอบไปด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการวาด ตกแต่ง และแก้ไขภาพ เครื่องมือเหล่านี้มีจำนวนมาก ดังนั้นจึงมีการรวมเครื่องมือที่ทำหน้าที่คล้าย ๆ กันไว้ในปุ่มเดียวกัน โดยจะมีลักษณะรูปสามเหลี่ยมอยู่บริเวณมุมด้านล่างดังภาพ 2 เพื่อบอกให้รู้ว่าในปุ่มนี้ยังมีเครื่องมืออื่นอยู่ด้วย
          Option Bar (ออปชั่นบาร์) เป็นส่วนที่ใช้ปรับแต่งค่าการทำงานของเครื่องมือต่าง ๆ โดยรายละเอียดในออปชั่นบาร์จะเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่เราเลือกจากทูลบ็อกซ์ในขณะนั้น เช่น เมื่อเราเลือกเครื่องมือ Brush (พู่กัน) บนออปชั่นบาร์จะปรากฏออปชั่นที่ใช้ในการกำหนดขนาด และลักษณะหัวแปรง, โหมดในการระบายความโปร่งใสของสี และอัตราการไหลของสี เป็นต้น
          Panel (พาเนล) เป็นวินโดว์ย่อย ๆ ที่ใช้เลือกรายละเอียด หรือคำสั่งควบคุมการทำงานต่าง ๆ ของโปรแกรม ใน Photoshop มีพาเนลอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น พาเนล Color ใช้สำหรับเลือกสี, พาเนล Layers ใช้สำหรับจัดการกับเลเยอร์ และพาเนล Info ใช้แสดงค่าสีตรงตำแหน่งที่ชี้เมาส์ รวมถึงขนาด/ตำแหน่งของพื้นที่ที่เลือกไว้

3






ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5
พิมพ์

          Photoshop Cs5 จะแตกต่างจาก Cs3 และ Cs4 ไปบ้างเล็กน้อย กล่าวคือโดยพื้นฐานจะคงเดิม แต่จะปรับการใช้งานให้ดูง่ายขึ้น มีการเก็บรวบรวมเครื่องมือที่เกี่ยวข้องเอาไว้ในที่เดียวกัน เพิ่มชุดเครื่องมือเข้ามาใหม่ และยังลดขั้นตอนการทำงานให้น้อยลง ทำให้ใช้งานสะดวกยิ่งขึ้น ในเวอร์ชั่นนี้ได้เพิ่มคำสั่ง และแถบเครื่องมือที่ใช้บ่อย ๆ วางแยกออกมาจากกลุ่มเครื่องมือเดิม เช่น เครื่องมือปรับมุมมอง เครื่องมือปรับแต่งภาพที่รวมอยู่ในพาเนลเดียวกัน เช่น พาเนล Adjustments ส่วนการทำงานหลัก ๆ ยังคงอิงการใช้งานเหมือนเวอร์ชั่นที่ผ่าน ๆ มา ซึ่งหน้าจอใหม่ของ Photoshop Cs5 ก็จะมีส่วนประกอบดังภาพ

ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop Cs5